ขั้นตอนการบีบน้ำมันจากเมล็ดถั่วดาวอินคา
1.ถั่วดาวอินคาที่นำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วยเครื่อง OIL PRESS เครื่องหีบน้ำมันแบบเย็น เป็นเครื่องสกัดน้ำมันแบบเย็นโดยแรงบีบอัดแบบเกลียวเพื่อสกัดน้ำมันออกจากวัตถุดิบ
3.ผลิตภัณฑ์น้ำมันถั่วดาวอินคาที่ได้
ขั้นตอนการบีบน้ำมันจากเมล็ดถั่วดาวอินคา
1.ถั่วดาวอินคาที่นำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วยเครื่อง OIL PRESS เครื่องหีบน้ำมันแบบเย็น เป็นเครื่องสกัดน้ำมันแบบเย็นโดยแรงบีบอัดแบบเกลียวเพื่อสกัดน้ำมันออกจากวัตถุดิบ
3.ผลิตภัณฑ์น้ำมันถั่วดาวอินคาที่ได้
ดาวอินคา ประโยชน์ดี ๆ สรรพคุณเด่น ๆ และข้อมูลงานวิจัย
ถิ่นกำเนิดดาวอินคา
ดาวอินคา เป็นพืชวงศ์ Euphorbiaceae เช่นเดียวกับ ยางพารา สบู่ดำ หรือมันสำปะหลัง ถั่วดาวอินคาในปัจจุบันก็มีการเพาะปลูกดาวอินคาในแถบทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีการนำดาวอินคามาแปรรูป เช่น น้ำมันดาวอินคาที่ได้จากการสกัด ถั่วดาวอินคาอบเกลือ หรือถั่วดาวอินคาคั่ว
ประโยชน์และสรรพคุณดาวอินคา
เมล็ดดาวอินคา สามารถใช้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว เช่น ถั่วคั่วเกลือ ถั่วทอด หรือ นำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร อาทิ ซอส ซีอิ้ว เต้าเจี้ยว รวมถึงแปรรูปเป็นแป้ง
รูปแบบและขนาดวิธีใช้ดาวอินคา
ในปัจจุบันยังไม่มีการกำหนดรูปแบบ / ขนาดการใช้หรือขนาดรับประทานดาวอินคาอย่างแน่ชัด โดยบางงานวิจัยระบุว่า เมล็ดดาวอินคารับประทานไม่ได้
เนื่องจากมีสารกลุ่มที่ยับยั้งการทำงานของเอ็นไซม์ทริปซิน (trypsin inhibitor) แต่สามารถนำมาหีบเอาน้ำมันมาใช้รับประทานเพื่อให้ได้ประโยชน์จากน้ำมันดาวอินคา และบางงานวิจัยระบุว่าเมล็ดดาวอินคาสามารถรับประทานได้เมื่อทำให้สุกแล้ว
องค์ประกอบทางเคมี
ส่วนคุณค่าทางโภชนาการของเมล็ดดาวอินคา (คั่วเกลือ ปริมาณ 100 กรัม)
เมล็ดดาวอินคาเป็นแหล่งของโปรตีน (ประมาณ 27%)
แหล่งที่มา : Wikipedin
การศึกษาทางเภสัชวิทยา
งานวิจัยทางคลินิกที่ศึกษาถึงผลของน้ำมันดาวอินคา ว่ามีคุณสมบัติที่สามารถนำมาใช้แทนโอเมก้า-3 ที่มีอยู่ในน้้ามันปลาได้หรือไม่ โดยมีงานวิจัยที่ศึกษาผลของน้ำมันจากดาวอินคาต่อการลดระดับไขมันในเลือด ทดลองในผู้ป่วยที่มีปัญหาคลอเรสเตอรอลในเลือดสูง โดยให้รับประทานน้ำมันที่สกัดจากดาวอินคา 5 หรือ10 มิลลิลิตรเป็นระยะเวลา 4 เดือน พบว่า ทั้ง 2 กลุ่มมีผลคลอเรสเตอรอลทั้งหมดและไขมันที่ไม่จำเป็นในเลือดลดลง และเพิ่มระดับไขมันเอชดีแอล แสดงให้เห็นถึงว่ากรดไขมันโอเมก้า-3 ที่อยู่ในดาวอินคาออกฤทธิ์คล้ายคลึงกับกรดไขมันโอเมก้า-3 ที่สกัดออกมาได้จากน้ำมันปลา
ข้อแนะนำและข้อควรระวัง
การให้อาหารทางสายยาง (Tube Feeding)
สูตรอาหารทางสายยางมีอะไรบ้าง ?
แหล่งที่มา : http://www.kluaynamthai2.com
อาหารสูตรนี้ใช้นมและผลิตภัณฑ์จากนมเป็นส่วนผสมสำคัญ ประกอบกับส่วนผสมอื่น เช่น น้ำตาล น้ำมันพืช ไข่ เพื่อให้ผู้รับประทานได้รับสารอาหารเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนของวัตถุดิบที่น้ำมาใช้จะขึ้นอยู่กับพลังงานและสารอาหารที่แพทย์กำหนด
อาหารสูตรน้ำนมผสมเตรียมง่าย ใช้เวลาน้อย เหมาะสำหรับผู้ป่วยเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากมีส่วนประกอบของนมเป็นหลัก มักจะก่อให้เกิดอาการท้องเสียสำหรับผู้ใหญ่ที่ไม่ได้ดื่มนมมาเป็นระยะเวลานาน และไม่มีน้ำย่อยน้ำตาลแลคโตส (Lactose) แล้ว
อาหารสูตรนี้มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วน ใช้วัตถุดิบจากอาหาร 5 หมู่ ประกอบด้วยเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำตาล และไขมัน นำมาทำให้สุก แล้วปั่นผสมเข้าด้วยกัน จากนั้นจึงกรองเอาส่วนที่ปั่นไม่ละเอียดออกเพื่อให้อาหารสามารถไหลผ่านสายให้อาหารได้
อาหารสูตรปั่นผสมเหมาะสำหรับผู้ใหญ่เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการแพ้นมวัว (Lactose intolerance) สามารถปรับเปลี่ยนวัตถุดิบได้ ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการเตรียม แต่สุดท้ายจะต้องได้คุณค่าครบถ้วนตามที่แพทย์กำหนด โดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
อาหารสูตรนี้ผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร มีสัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน ให้คุณค่าสารอาหารแตกต่างกันตามรายละเอียดที่ระบุไว้ที่ภาชนะบรรจุ มีทั้งชนิดผงและน้ำ สามารถนำไปละลายน้ำตามสัดส่วนที่กำหนด หรือเปิดภาชนะบรรจุก็ใช้ได้ทันที
แบ่งเป็น 5 สูตรตามสารอาหาร ดังนี้
แหล่งที่มา : https://hd.co.th/tube-feeding
อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้อาหารทางสายยาง
ขั้นตอนการให้อาหารทางสายยาง มีดังต่อไปนี้
** หมายเหตุ ในกรณีดึงอาหารออกมาแล้ว สีอาหารเปลี่ยนไปเปลี่ยนเป็นสีแดง,สีน้ำตาล,สีดำ ควรปรึกษาศูนย์สาธารณะสุขหรือโรงพยาบาลใกล้บ้าน
แหล่งที่มา : http://www.kluaynamthai2.com
การดูแลรักษาสายยางให้อาหาร
แหล่งที่มา : https://www.saintlouis.or.th/article/show/_11-0-2022-13:16
ขั้นตอนการแปรรูปผงจากน้ำสารสกัดเมล็ดองุ่น
1.องุ่นนำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วย เครื่องสเปรย์ดรายเออร์ (SPRAY DRYER) อบแห้งแบบพ่นฝอยจากของเหลวให้เป็นผงแห้ง
3.ผลิตภัณฑ์ผงสารสกัดเมล็ดองุ่นที่ได้
ขั้นตอนการหั่นย่อย,สกัดแอลกอฮอล์,ต้มสกัด,สเปรย์ดรายจากขมิ้นชัน
1.ขมิ้นชันที่นำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วย เครื่องหั่นเห็ดหลินจือ/เครื่องหั่นกิ่งใบ เครื่องจักรที่ใช้ในการหั่นผลิตภัณฑ์ให้มีขนาดตามที่ต้องการ และมีขนาดที่สม่ำเสมอ เป็นเครื่องที่ใช้สำหรับหั่นใบอ่อนและแข็งของสมุนไพรหลายชนิด
3.ผลิตภัณฑ์ขมิ้นชันหั่นย่อยที่ได้
4.แปรรูปให้เป็นของเหลวโดยการต้มสกัดแอลกอฮอล์ เครื่องสกัดด่วน (HI SPEED EXTRACTOR) สามารถใช้สกัดสารสำคัญจากวัตถุดิบออกมาเป็นน้ำสกัดได้อย่างรวดเร็ว
5.ผลิตภัณฑ์น้ำสกัดขมิ้นชันที่ได้
6.ใบหม่อนที่นำมาแปรรูป แปรรูปให้เป็นของเหลวโดยการต้มสกัด ถังต้มกวนผสม ( HEATING MIXING TANK )ถังกวนผสมใช้กวนผสมของเหลว และให้ความร้อนด้วย HOT OIL
7.ผลิตภัณฑ์น้ำขมิ้นที่ได้
8.แปรรูปด้วย เครื่องสเปรย์ดรายเออร์ (SPRAY DRYER) อบแห้งแบบพ่นฝอยจากของเหลวให้เป็นผงแห้ง
9.ผลิตภัณฑ์ผงขมิ้นชันที่ได้
โกโก้ (Cocoa) ทานอย่างไรให้ดีต่อสุขภาพ
โกโก้ (Cocoa) คืออะไร ?
โกโก้ เป็นเมล็ดของพืชชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาผลิตช็อกโกแลต ภายในโกโก้ มีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ซึ่งอาจนำมาใช้รักษา หรือป้องกันโรคหัวใจและความดันโลหิตสูง ทั้งนี้แม้ว่าโกโก้จะเต็มไปด้วยคุณประโยชน์สารพัด แต่ผู้บริโภคก็ควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อป้องกันผลข้างเคียงที่อาจเกิดตามมาได้อีกด้วย
โกโก้ (Cocoa) และ ช็อกโกแลต (Chocolate) มีที่มาเดียวกัน คือ มาจากเมล็ดโกโก้ เพียงแต่โกโก้ผ่านกระบวนการแปรรูป และรีดไขมันออกจนเหลือเพียง 0-25%
แหล่งกำเนิดของโกโก้
แหล่งกำเนิดโกโก้นั้น มาจากต้นโกโก้ (Cocoa tree) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า “Theobroma cacao” ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของอเมริกาใต้ มีอยู่ 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Forastero, Criollo และ Trinitario
ส่วนของต้นโกโก้ที่นำมาสกัดเป็นโกโก้ให้เรารับประทานนั้น คือ เมล็ดซึ่งอยู่ในผลโกโก้ โดยเมล็ดจะต้องถูกนำไปหมักให้มีกลิ่นหอม แล้วนำไปตากแห้งเพื่อให้ความชื้นลดลง จากนั้นจะถูกนำไปคั่ว จนได้สิ่งที่เรียกว่า “คาเคา นิบส์ (Cocoa nib)” ซึ่งเป็นเมล็ดสีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นหอม รสชาติขมเป็นเอกลักษณ์
ประโยชน์ของโกโก้
โกโก้ ประกอบไปด้วยแคลอรี่ ไขมัน, โปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, ใยอาหาร และแร่ธาตุชนิดต่าง ๆ รวมไปถึงสารอีกหลายชนิด เช่น สารต้านอนุมูลอิสระฟลาโวนอยด์, สารอีพิคาเทชิน, สารคาเทชิน, สารโพรไซยานิดีน เป็นต้น สารสำคัญต่าง ๆ ในโกโก้ย่อมส่งผลดีต่อร่างกายไม่มากก็น้อย ดังนี้
คุณค่าทางโภชนาการ
ผงโกโก้ 100 กรัม ให้พลังงาน 228 กิโลแคลอรี่ ประกอบไปด้วย
การรับประทานโกโก้ให้ได้ประโยชน์
ข้อควรระวังในการรับประทานโกโก้
หากคำนึงถึงสุขภาพเป็นหลัก ควรเลือกรับประทานโกโก้ในรูปแบบดาร์กช็อกโกแลต ซึ่งมีปริมาณเนื้อโกโก้สูง และมีไขมันจากนมกับน้ำตาลต่ำ แม้รสชาติจะขมไปบ้าง แต่ก็ดีต่อสุขภาพมากกว่าช็อกโกแลตนม และไวท์ช็อกโกแลตอย่างแน่นอน
แหล่งที่มา : https://www.sgethai.com/article/
ขั้นตอนการแปรรูปผงจากน้ำจุลินทรีย์
1.น้ำจุลินทรีย์ที่นำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วย เครื่องสเปรย์ดรายเออร์ (SPRAY DRYER) อบแห้งแบบพ่นฝอยจากของเหลวให้เป็นผงแห้ง
3.ผลิตภัณฑ์ผงจุลินทรีย์ที่ได้
ขั้นตอนการทำ FLUIDIZED BED GRANULATOR จากผงกล้วย
1.ผงกล้วยที่นำมาแปรรูป
่
2.แปรรูปด้วย เครื่องทำแกรนูลแบบฟลูอิดไดซ์เบด (Fluidized Bed Granulator) อบผงด้วยลมร้อนในตัวถังเกาะกลุ่มด้วยสารช่วยยึดเกาะ
3.ผลิตภัณฑ์ผงกล้วยเกาะกลุ่มที่ได้
ขั้นตอนการทำแห้งแบบลูกกลิ้งจากน้ำแป้งกล้วยดิบ
1.แป้งกล้วยที่นำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วย เครื่องทำแห้งแบบลูกกลิ้งคู่ ( TWIN DRUM DRYER ) ทำวัตถุดิบของเหลวให้แห้งโดยเทวัตถุดิบของเหลวลงในช่องระหว่างลูกกลิ้ง
3.ผลิตภัณฑ์ผงน้ำแป้งกล้วยดิบที่ได้
ขั้นตอนการแปรรูปผงจากสารแต่งกลิ่นเปลือกไม้แอปเปิ้ลรมควัน
1.เปลือกไม้ที่นำมาแปรรูป
2.แปรรูปด้วย เครื่องสเปรย์ดรายเออร์ (SPRAY DRYER) อบแห้งแบบพ่นฝอยจากของเหลวให้เป็นผงแห้ง
3.ผลิตภัณฑ์ผงสารแต่งกลิ่นเปลือกไม้แอปเปิ้ลรมควัน